โครงการก่อสร้างทางหลวงหมายเลข 415 สายพังงา - อ.บ้านตาขุน ตอน บ.บางคราม - บ.ปากน้ำ ตอน 4
ทางหลวงหมายเลข 415 ตอน อ.ทับปุด จังหวัดพังงา ถึง บ.เขาต่อ ถึง บ.เขาต่อ อ.พนม จ.สุราษฎร์ธานี ระหว่าง กม.0+000.000 - กม.48+161.250 เริ่มต้นที่บริเวณทางแยก กม.163+500.000 ของทางหลวงหมายเลข 4 บริเวณ บ.นาเหนือ อ.อ่าวลึก จ.กระบี่ เส้นทางนี้เดิมเป็นทางเกวียนที่ราษฎร์ใช้สัญจรหลังจากบริษัทเอกชนใช้ประกอบอาชีพการทำไม้ ต่อมาแขวงการทางสุราษฎร์ธานีได้รับมอบเส้นทางในส่วนของพื้นที่จังหวัดสุราษฎ์ธานี ต่อมาประมาณปี 2525 ได้แบ่งระยะทางการควบคุมใหม่
ปี พ.ศ.2523 โดยศูนย์สร้างทางสุราษฎร์ธานี ได้รับงบประมาณก่อสร้างทางเพื่อความมั่นคง ก่อสร้างเป็นทางลูกรัง มาตรฐานคันทางกว้าง 9.00 เมตร และลาดยางกว้าง 5.00 เมตร บริเวณย่่านชุมชน แขวงทางหลวงสุราษฎร์ธานี รับมอบจากศูนย์เครื่องมือจากสุราษฎร์ธานีมาดำเนินการก่อสร้างต่อมา
เมื่อปีพ.ศ.2527 และกองบำรุงรับมอบต่อมาเป็นบำรุง เนื่องจากเป็นเส้นทางลัดที่เชื่อมระหว่างจังหวัดสุราษฎร์ธานีกับจังหวัดพังงา และจังหวัดภูเก็ต โดยย่นระยะทางจากเส้นทางเดิม (401) ที่ต้องผ่านขึ้นเขาสก อ.ตะกั่วป่า ซึ่งไกลกว่่าประมาณ 47 กิโลเมตร ทำให้ใช้ระยะเวลาน้อยลง การคมนาคมสะดวกและปลอดภัยยิ่งขัึ้นการขนส่งสินค้าและการบริการต่างๆ สะดวกรวดเร็วช่วยส่งเสริมการท่องเที่ยวในภาคใต้ตอนบน การก่อสร้างทางนี้จึงจัดว่าเป็นโครงการฯ ที่ได้รับผลตอบแทนทางด้านเศรษฐกิจสูงมากเส้นหนึ่งกรมทางหลวงจึงได้พัฒนา โครงการก่อสร้างทางลาดยางขึ้นมาตามลำดับ
ปี พ.ศ. 2524 ทำการเปิดซองประกวดราคา โครงการก่อสร้างทางลาดยาง สาย อ.พนม - บ.เขาต่อ - อ.ทับปุด มีผู้เสนอราคาต่ำสุด คือ บริษัท ซิวิล เอนจิเนียซิ่ง แต่ยังคงสูงกว่าราคากลาง โดยคณะกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคา ได้ทำการต่อรองราคาถึง 3 ครั้ง ให้บริษัทฯ ลดราคาแล้วจึงเห็นสมควรรับราคา สำนักงบประมาณพิจารณาว่าอยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสม และกระทรวงอนุมัติราคาเมื่อปี พ.ศ.2534 มีงานปรับปรุงทางแยก 3 แห่ง ติดตั้งไฟฟ้าแสงสว่าง มีงานอำนวยความสะดวกปลอดภัยและจราจรสงเคราะห์ตลอดสาย ผลงานแล้วเสร็จส่งมอบให้แขวงการทางประมาณปี พ.ศ.2535
ปี พ.ศ.2523 โดยศูนย์สร้างทางสุราษฎร์ธานี ได้รับงบประมาณก่อสร้างทางเพื่อความมั่นคง ก่อสร้างเป็นทางลูกรัง มาตรฐานคันทางกว้าง 9.00 เมตร และลาดยางกว้าง 5.00 เมตร บริเวณย่่านชุมชน แขวงทางหลวงสุราษฎร์ธานี รับมอบจากศูนย์เครื่องมือจากสุราษฎร์ธานีมาดำเนินการก่อสร้างต่อมา
เมื่อปีพ.ศ.2527 และกองบำรุงรับมอบต่อมาเป็นบำรุง เนื่องจากเป็นเส้นทางลัดที่เชื่อมระหว่างจังหวัดสุราษฎร์ธานีกับจังหวัดพังงา และจังหวัดภูเก็ต โดยย่นระยะทางจากเส้นทางเดิม (401) ที่ต้องผ่านขึ้นเขาสก อ.ตะกั่วป่า ซึ่งไกลกว่่าประมาณ 47 กิโลเมตร ทำให้ใช้ระยะเวลาน้อยลง การคมนาคมสะดวกและปลอดภัยยิ่งขัึ้นการขนส่งสินค้าและการบริการต่างๆ สะดวกรวดเร็วช่วยส่งเสริมการท่องเที่ยวในภาคใต้ตอนบน การก่อสร้างทางนี้จึงจัดว่าเป็นโครงการฯ ที่ได้รับผลตอบแทนทางด้านเศรษฐกิจสูงมากเส้นหนึ่งกรมทางหลวงจึงได้พัฒนา โครงการก่อสร้างทางลาดยางขึ้นมาตามลำดับ
ปี พ.ศ. 2524 ทำการเปิดซองประกวดราคา โครงการก่อสร้างทางลาดยาง สาย อ.พนม - บ.เขาต่อ - อ.ทับปุด มีผู้เสนอราคาต่ำสุด คือ บริษัท ซิวิล เอนจิเนียซิ่ง แต่ยังคงสูงกว่าราคากลาง โดยคณะกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคา ได้ทำการต่อรองราคาถึง 3 ครั้ง ให้บริษัทฯ ลดราคาแล้วจึงเห็นสมควรรับราคา สำนักงบประมาณพิจารณาว่าอยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสม และกระทรวงอนุมัติราคาเมื่อปี พ.ศ.2534 มีงานปรับปรุงทางแยก 3 แห่ง ติดตั้งไฟฟ้าแสงสว่าง มีงานอำนวยความสะดวกปลอดภัยและจราจรสงเคราะห์ตลอดสาย ผลงานแล้วเสร็จส่งมอบให้แขวงการทางประมาณปี พ.ศ.2535