โครงการฯสายพัฒนาคูน้ำริมถนนวิภาวดีรังสิต ตอน 3
ความเป็นมา
ทางหลวงหมายเลข31 ถนนวิภาวดี-รังสิต เป็นเส้นทางสำคัญในการทางไปยังท่าอากาศยานดอนเมือง รวมทั้งเป็นเส้นทางหลังในการเดินทางจากตัวเมือง รวมทั้งเป็นเส้นทางหลักในกานเดินทางจากตัวเมืองกรุงเทพฯชั้นในไปยังภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือเส้นทางช่วงนี้มักประสบปัญหาน้ำท่วมขังจากอุทกภัย ทำให้การสัญจรบนเส้นทางช่วงนี้ไม่สะดวกและปลอดภัยก่อให้เกิดความเสียหายทางด้านเศรษฐกิจของประเทศอย่างมาก จำเป็นต้องได้รับการแก้ไขปัญหาน้ำท่วมขังบนทางหลวง
กรมทางหลวงได้รับงบประมาณปี 2562 เพื่อทำการพัฒนาคูน้ำริมถนนวิภาวดีรังสิต ตอน 3 ช่วง กม.28+030.000 (ทางหลวงหมายเลข ที่ 31) - กม.30+300.000 (ทางหลวงหมายเลข 1)รวมระยะทางยาวประมาณ 2.243 กิโลเมตร จำนวน 1 แห่ง
วัตถุประสงค์
- เพื่อแก้ไขปัญหาน้ำท่วมขังบนทางหลวง
- เพื่อเพิ่มพื้นที่การรองรับน้ำฝนให้มากยิ่งขึ้น
- เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการระบายน้ำฝนได้เร็วขึ้น
ขอบเขตการก่อสร้าง
- ทิศเหนือ กม.28+500-กม.30+300 อยู่ในพื้นที่แขวงทางหลวงปทุมธานี
- ทิศใต้ กม.28+030-กม.28+500 อยู่ในพื้นที่แขวงทางหลวงกรุงเทพ
- ทิศตะวันตก ทางคู่ขนานด้านขาออก ตั้งแต่ กม.28+030.000 (ทางหลวงหมายเลข 31) - กม.30+300.00 (ทางหลวงหมายเลขที่ 1)
- ทิศตะวันออก ทางคู่ขนานด้านขาเข้า กม.28+535.480 (ทางหลวงหมายเลข1) - กม.30+300.000 (ทางหลวงหมายเลข 1)
ลักษณะการก่อสร้าง
ทางคู่ขนานด้านขาออก (ด้านทิศตะวันตก)
- ก่อสร้าง บ่อดัน - บ่อรับ เพื่อรองรับมวลน้ำฝนตามจุดต่างๆด้วยวิธีการจมบ่อจากพื้นชั้นทางเดิม ลงไปให้ได้ระดับตามที่แบบกำหนด จากนั้นปรับระดับดินก้นบ่อให้ราบเรียบแล้วเทพื้นคอนกรีตเสริมเหล็กหนา 40 CM
- ก่อสร้างงาน STEEL PIPE JACKING ขนาด Ø1000 MM. , Ø1200 MM. , Ø1500 MM. , Ø1800 MM.และ Ø2000 MM. ลอดใต้ชั้นทางคู่ขนาน ตั้งแต่ กม.28+272.330 - กม.30+217.030
- ก่อสร้างงานชั้นทางและชิ้นงาน CONCRETE PAVEMENT ปิดปากบ่อดัน-บ่อรับใหห้ระดับผิวบน CONCRETE PAVEMENT เสมอกับผิวทางเดิม
- ก่อสร้างงานปูผิวทางคู่ขนานขาเข้าและขาออก โดยการปรัลระดับด้วย ASPHALT CONCRETE LEVELLING แล้วปูทับด้วย MODIFIED ASPHALT CONCRETE หนา 5 CM. รวม 2 ชั้น หนา 10 CM.
- ก่อสร้างงานเบ็ดเตล็ดต่างๆ บนทางเท้า เช่นงาน MANHOLE , งาน RC.U-DITCH , งานปรับปรุงไฟฟ้าแสงสว่างบนทางเท้า เป็นต้น
- ก่อสร้างงานสีดีเส้นแบ่งช่องจราจรบนผิวทาง 2 ช่อง 3.50 M. รวมกว้าง 7.00 M.
ทางคู่ขนานด้านขาออก (ด้านทิศตะวันออก)
- ก่อสร้างงานบ่อดัน สองจุด เพื่อรองรับมวลน้ำฝน ให้ระบายออกทาง บ่อดัน-บ่อรับ ด้านทางคู่ขนานด้านขาออก (ด้านทิศตะวันตก)
- ก่อสร้างงาน STEEL PIPE JACKING ขนาด Ø1000 MM. สองจุด
- ก่อสร้างบ่อรับ(บ่อสุดท้าย) หนึ่งจุด เพื่อรองรับมวลน้ำฝน จากฝั่งทางคู่ขนานด้านขากออก (ด้านทิศตะวันตก) แล้วระบายลงสู่สถานีสูบน้ำ
- บริเวณ กม.30+270.000 ก่อสร้างงานสถานีสูบน้ำ เพื่อสูบมวลน้ำฝนทั้งหมดออกจากสถานี ลงสู่คลองบึงทะเลสาบ ไปคลองรังสิต แล้วระบายออกสู่แม่น้ำเจ้าพระยาต่อไป
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
- ลดความเสียหายทางด้านเศรษฐกิจของประเทศ
- เพิ่มประสิทธิภาพในด้านโครงข่ายคมนาคมขนส่งทางถนน
- ประชาชนสามารถใช้เส้นทางสัญจรไปมาได้อย่างสะดวกและปลอดภัย
- เสริมสร้างประสิทธิภาพการแข่งขันอย่างยั่งยืนของประเทศ
ทางหลวงหมายเลข31 ถนนวิภาวดี-รังสิต เป็นเส้นทางสำคัญในการทางไปยังท่าอากาศยานดอนเมือง รวมทั้งเป็นเส้นทางหลังในการเดินทางจากตัวเมือง รวมทั้งเป็นเส้นทางหลักในกานเดินทางจากตัวเมืองกรุงเทพฯชั้นในไปยังภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือเส้นทางช่วงนี้มักประสบปัญหาน้ำท่วมขังจากอุทกภัย ทำให้การสัญจรบนเส้นทางช่วงนี้ไม่สะดวกและปลอดภัยก่อให้เกิดความเสียหายทางด้านเศรษฐกิจของประเทศอย่างมาก จำเป็นต้องได้รับการแก้ไขปัญหาน้ำท่วมขังบนทางหลวง
กรมทางหลวงได้รับงบประมาณปี 2562 เพื่อทำการพัฒนาคูน้ำริมถนนวิภาวดีรังสิต ตอน 3 ช่วง กม.28+030.000 (ทางหลวงหมายเลข ที่ 31) - กม.30+300.000 (ทางหลวงหมายเลข 1)รวมระยะทางยาวประมาณ 2.243 กิโลเมตร จำนวน 1 แห่ง
วัตถุประสงค์
- เพื่อแก้ไขปัญหาน้ำท่วมขังบนทางหลวง
- เพื่อเพิ่มพื้นที่การรองรับน้ำฝนให้มากยิ่งขึ้น
- เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการระบายน้ำฝนได้เร็วขึ้น
ขอบเขตการก่อสร้าง
- ทิศเหนือ กม.28+500-กม.30+300 อยู่ในพื้นที่แขวงทางหลวงปทุมธานี
- ทิศใต้ กม.28+030-กม.28+500 อยู่ในพื้นที่แขวงทางหลวงกรุงเทพ
- ทิศตะวันตก ทางคู่ขนานด้านขาออก ตั้งแต่ กม.28+030.000 (ทางหลวงหมายเลข 31) - กม.30+300.00 (ทางหลวงหมายเลขที่ 1)
- ทิศตะวันออก ทางคู่ขนานด้านขาเข้า กม.28+535.480 (ทางหลวงหมายเลข1) - กม.30+300.000 (ทางหลวงหมายเลข 1)
ลักษณะการก่อสร้าง
ทางคู่ขนานด้านขาออก (ด้านทิศตะวันตก)
- ก่อสร้าง บ่อดัน - บ่อรับ เพื่อรองรับมวลน้ำฝนตามจุดต่างๆด้วยวิธีการจมบ่อจากพื้นชั้นทางเดิม ลงไปให้ได้ระดับตามที่แบบกำหนด จากนั้นปรับระดับดินก้นบ่อให้ราบเรียบแล้วเทพื้นคอนกรีตเสริมเหล็กหนา 40 CM
- ก่อสร้างงาน STEEL PIPE JACKING ขนาด Ø1000 MM. , Ø1200 MM. , Ø1500 MM. , Ø1800 MM.และ Ø2000 MM. ลอดใต้ชั้นทางคู่ขนาน ตั้งแต่ กม.28+272.330 - กม.30+217.030
- ก่อสร้างงานชั้นทางและชิ้นงาน CONCRETE PAVEMENT ปิดปากบ่อดัน-บ่อรับใหห้ระดับผิวบน CONCRETE PAVEMENT เสมอกับผิวทางเดิม
- ก่อสร้างงานปูผิวทางคู่ขนานขาเข้าและขาออก โดยการปรัลระดับด้วย ASPHALT CONCRETE LEVELLING แล้วปูทับด้วย MODIFIED ASPHALT CONCRETE หนา 5 CM. รวม 2 ชั้น หนา 10 CM.
- ก่อสร้างงานเบ็ดเตล็ดต่างๆ บนทางเท้า เช่นงาน MANHOLE , งาน RC.U-DITCH , งานปรับปรุงไฟฟ้าแสงสว่างบนทางเท้า เป็นต้น
- ก่อสร้างงานสีดีเส้นแบ่งช่องจราจรบนผิวทาง 2 ช่อง 3.50 M. รวมกว้าง 7.00 M.
ทางคู่ขนานด้านขาออก (ด้านทิศตะวันออก)
- ก่อสร้างงานบ่อดัน สองจุด เพื่อรองรับมวลน้ำฝน ให้ระบายออกทาง บ่อดัน-บ่อรับ ด้านทางคู่ขนานด้านขาออก (ด้านทิศตะวันตก)
- ก่อสร้างงาน STEEL PIPE JACKING ขนาด Ø1000 MM. สองจุด
- ก่อสร้างบ่อรับ(บ่อสุดท้าย) หนึ่งจุด เพื่อรองรับมวลน้ำฝน จากฝั่งทางคู่ขนานด้านขากออก (ด้านทิศตะวันตก) แล้วระบายลงสู่สถานีสูบน้ำ
- บริเวณ กม.30+270.000 ก่อสร้างงานสถานีสูบน้ำ เพื่อสูบมวลน้ำฝนทั้งหมดออกจากสถานี ลงสู่คลองบึงทะเลสาบ ไปคลองรังสิต แล้วระบายออกสู่แม่น้ำเจ้าพระยาต่อไป
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
- ลดความเสียหายทางด้านเศรษฐกิจของประเทศ
- เพิ่มประสิทธิภาพในด้านโครงข่ายคมนาคมขนส่งทางถนน
- ประชาชนสามารถใช้เส้นทางสัญจรไปมาได้อย่างสะดวกและปลอดภัย
- เสริมสร้างประสิทธิภาพการแข่งขันอย่างยั่งยืนของประเทศ